วันอาทิตย์ที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2551

การควบคุม

ความหมายของการควบคุม
หมายถึง การตรวจสอบการปฏิบัติงานว่าได้มีการดำเนินการตามแผนที่ได้กำหนดไว้หรือไม่ เพื่อทำการหาจุดบกพร่องและจุดอ่อนของผลการปฏิบัติงานแล้วนำมาปรับปรุงแก้ไขเพื่อที่จะให้ผลการปฏิบัติงานนั้นได้ดำเนินไปตามแผนและมาตรฐานที่ได้กำหนดไว้
ความสำคัญของการควบคุม
ทำให้งานนั้นเป็นไปตามแผนและได้มาตรฐานที่ได้กำหนดไว้
สามารถตรวจสอบวิธีการปฏิบัติงานว่าได้เป็นไปตามแผนหรือไม่ ถ้าผลการปฏิบัติงาน ไม่ดำเนินการไปตามแผน ก็สามารถนำมาปรับปรุงแก้ไขให้ดีขึ้น
ทำให้สามารถตรวจสอบผลของการปฏิบัติงานว่าได้ดำเนินการไปถึงขั้นไหนแล้ว เพื่อที่จะ สามารถดำเนินในขั้นต่อไปได้
ทำให้ทราบถึงปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงานว่าเป็นอย่างไร เกิดขึ้นเมื่อไร และควรแก้ไขอย่างไรต่อไป
กระบวนการควบคุม
1. กำหนดมาตรฐาน
2. การวัดผลการปฏิบัติงานจริง
3. การเปรียบเทียบผลปฏิบัติงานจริงกับมาตรฐาน
4. ปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่อง
กำหนดมาตรฐาน
ปรับปรุงแก้ไข
ข้อบกพร่อง
การเปรียบเทียบผล
งานจริงกับมาตรฐาน
การวัดผล
ปฏิบัติงานจริง
รูปกระบวนการควบคุม
เทคนิคในการควบคุม
1. กระบวนการควบคุมโดยใช้วงจรเดมิ่ง
P = Plan
D = Do
C = Check
A = Action
รูปวงจรเดมิ่ง
P
C
D
A
2. Gantt Chart หรือ Bar Chat
ได้เป็นผู้ทำการคิดค้นขึ้นมา โดยเฮนรี่ แกนต์ ได้ประดิษฐ์แผนภูมิเพื่อใช้ในการควบคุมแผนและโครงการ ซึ่งเป็นแผนภูมิที่แสดงให้เห็นถึงกิจกรรมต่าง ๆ ที่จะทำและแสดงเวลาในการทำงานแล้วเสร็จ
การควบคุมตามลักษณะกระบวนการทำงาน
แบ่งได้เป็น 3 ประเภท
Feedforward control การควบคุมนี้มีความสำคัญสำหรับการควบคุมคุณภาพภายในองค์การ
Concurrent control การควบคุมนี้มีการตรวจสอบกิจกรรมในระหว่างดำเนินงานอยู่เสมอ โดยเน้นตรวจสอบว่ามีสิ่งใดผิดปกติเกิดขึ้นในระหว่างการดำเนินงาน
Feedback control การควบคุมนี้เกิดขึ้นภายหลังจากการดำเนินงานเสร็จสิ้น เน้นผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ประเภทของการควบคุมแบ่งตามลักษณะกระบวนการทำงาน
Work input
Work process
Work m output
Feedforward
control
เน้นเรื่องวัตถุดิบที่ถูกต้อง
ตรงตามความต้องการ
Concurrent
control
เน้นเรื่องการปฏิบัติงานที่
ถูกต้องทำให้มีประสิทธิ
ภาพในการทำงาน
Feedback
control
เน้นเรื่องผลลัพธ์สุดท้าย
ให้ตรงตามมาตรฐานที่
ต้องการ
ข้อมูลย้อนกลับ (Feedback)
ลักษณะการควบคุมที่มีประสิทธิภาพ
มีความถูกต้อง ( Accuracy )
ทันเวลา ( Timeliness )
คุ้มค่าทางเศรษฐกิจ ( Economy )
มีความยืดหยุ่น ( Flexibility )
ลักษณะการควบคุมที่มีประสิทธิภาพ ( ต่อ )
เข้าใจง่ายและมีความสมเหตุสมผล (Uderstandable & Reasonable )
มีเงื่อนไขหลายประการ ( Multiple Criteria)
มีการปฏิบัติได้ ( Corrective Action )
ลักษณะการควบคุมที่มีประสิทธิภาพ
ต้องให้ลูกค้ารู้ว่า เราทำการขายสินค้า / บริการอะไร
ราคาและเงื่อนไขการขาย
ลูกค้าจะหาซื้อสินค้าของเราได้ที่ไหน
ทำไมลูกค้าควรซื้อสินค้าของเรา
ลักษณะการควบคุมที่มีประสิทธิภาพ
การควบคุมมีเงื่อนไขหลายประการมีการปฏิบัติได้มีความยืดหยุ่นคุ้มค่าทางเศรษฐกิจ
เข้าใจง่ายและมีความสมเหตุสมผลมีความถูกต้องทันเวลา